การวิเคราะห์ขอ ้ มูลเพื่อการตัดสินใจด้วย Business Intelligence Data

15 Slides362.00 KB

การวิเคราะห์ขอ ้ มูลเพื่อการตัดสินใจด้วย Business Intelligence Data analysis for the making a decision with Business Intelligence

จัดทำโดย นายสันติ อาริยทรัพย์ 49011211687 นายเทอดพงษ์ ผลจันทร์ 49011211718 ที่ปรึกษา อาจารย์ปรีชา น้อยอำคา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

หัวข้อที่จะนำเสนอ 1. Business Intelligence คืออะไร 2. องค์ประกอบของ Business Intelligence 3. Data Warehouse 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ ้ มูลใน หลายมิติ (OLAP)

การใช้ขอ ้ มูลที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการ ดำเนินธุรกิจในทุกวันนี้ คือ การเรียกใช้ขอ ้ มูลเพื่อ การตัดสินใจ โดยจำเป็นต้องทำได้อย่างรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ ดังนัน ้ จึงได้มรี ะบบฐานข้อมูลดาต้า แวร์เฮาส์ ที่ออกแบบมาเพื่อจัดการกับข้อมูลและ จัดสรรข้อมูลให้เกิดข้อมูลที่รองรับสำหรับการ วิเคราะห์และการตัดสินใจ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า 1. Business Intelligence คืออะไร Business Intelligence คือ ซอฟต์แวร์ (Software) ที่นำข้อมูลที่มอ ี ยูเ่ พื่อจัด ทำรายงานในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมกับมุมมองในการวิเคราะห์ และตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้งาน และใช้สำหรับวิเคราะห์ขอ ้ มูล ของงานในมุมมองต่างๆ ตาม แต่ละแผนก เช่น วิเคราะห์การดำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อการตัดสินใจด้านการลงทุนสำหรับผู้บริหาร วิเคราะห์และวางแผนการขาย / การตลาด เพื่อประเมินช่องทางการจำหน่าย ฯลฯ วิเคราะห์สน ิ ค้าที่ทำกำไร สูงสุด / ขาดทุนต่ำสุด เพื่อการวางแผนงานด้านการตลาด และ การผลิต วิเคราะห์ปัจจัยที่มผ ี ลกระทบต่อยอดขายของสินค้า ฯลฯ วิเคราะห์ขอ ้ มูลเกี่ยวกับคู่แข่งขัน ฯลฯ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาค้นคว้า(ต่อ) 2. องค์ประกอบของ Business Intelligence 1. ดาต้าแวร์เฮ้าส์ (Data Warehouse) 2. ดาต้ามาร์ท(Data Mart) 3. การทำเหมืองข้อมูล(Data Mining) 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ ้ มูลในหลายมิติ (OLAP) 5. ระบบสืบค้นและออกรายงานต่าง ๆ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาค้นคว้า(ต่อ) 3. Data Warehouse ความหมายของคลังข้อมูล ระบบคลังข้อมูล หรือ Data Ware-house คือ ระบบการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลที่กระจัดกระจายมาไว้ที่เดียวกันสามารถเก็บข้อมูลย้อน หลังได้หลายๆ ปี เพื่อใช้เป็นข้อมูลช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ หรือใช้ใน การวิเคราะห์ขอ ้ มูล ที่ถก ู ต้อง และมีประสิทธิภาพ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาค้นคว้า(ต่อ) สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล Data Data Staging Data Area Data Warehouse Database Data Data Provisioning Data Area Metadata Repository ภาพประกอบที่ 1 สถาปัตยกรรม ของคลังข้อมูล Metadata Metadata Metadata Metadata Data Acquisition System Terminal

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาค้นคว้า(ต่อ) แหล่งข้อมูล ภายใน ข้อมูลปฏิบต ั ิการ ข้อมูลในอดีต การดึ การดึงง& เปลี เปลี่ย ่ยนแปลง นแปลงข้อมูล ดาต้า แวร์เฮาส์ การเข้ การเข้าาถึถึงง ข้ข้ออมูมูลลและ และ การวิ การวิเเคราะห์ คราะห์ - การถามและการรายงาน - OLAP - ดาต้าไมน์น่ง ิ แหล่งข้อมูล ภายนอก ข้อมูลภายนอก ข้อมูลภายนอก ไดเรกทอรี ของสารสนเทศ ภาพประกอบที่ 2 ส่วนประกอบขอ งดาต้าแวร์เฮาส์

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาค้นคว้า(ต่อ) ปี 2546 ปี 2545 ปี 2544 ปี 2543 ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ สินค้า 4 สินค้าสิ1นค้าสิ2นค้า 3 ภาพประกอบที่ 3 ลักษณะหลายมิติ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึ ษาค้ นคว้ (ต่ อ) เคราะห์ขอ 4.กเครื ่องมื อทีา่ใช้ ในการวิ ้ มูลใน หลายมิติ (OLAP) OLAP ย่อมากจาก Online Analytical Processing เทคโนโลยีที่ใช้ขอ ้ มูลจากคลังข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการ วิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจทางธุรกิจอย่างมี ประสิทธิภาพ แก้ปัญหาที่มค ี วามซับซ้อนโดยใช้ระยะเวลาสัน ้ ระบบทำงานได้รวดเร็ว สามารถค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูล ขนาดใหญ่มาคำนวณได้อย่างครบถ้วนไม่ตกหล่น

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาค้นคว้า(ต่อ) ภาพประกอบที่ 4 การประมวลผลเชิง วิเคราะห์ออนไลน์

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ ศึประโยชน์ กษาค้นขคว้ องา(ต่อ) OLAP ช่วยในการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลในมุมต่าง ๆ ทำให้การ ตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้ใช้แต่ละคนสามารถสร้างมุมมองข้อมูลของตนเองได้ เพื่อนำไป ใช้ในงานเฉพาะด้าน มีความรวดเร็วในการสอบถามข้อมูล แม้ในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ และมีความซับซ้อนมาก ทำให้ได้รบ ั ข้อมูลมุมมองใหม่ ๆ สำหรับประกอบการตัดสินใจ

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า ภาพประกอบที่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

จบการนำ เสนอ

Back to top button